การอ่านค่าตัวเก็บประจุแทนทาลัม แบบ SMD และหน่วยของตัวเก็บประจุระบุไว้ที่ตัว C
ที่ตัวเก็บประจุแทนทาลัม แบบ SMD จะมีข้อมูลสเปคระบุไว้หลายอย่าง จำเป็นต้องเข้าใจคอนเซปจึงจะอ่านค่าตัวเก็บประจุชนิดนี้ได้ ผู้ผลิตแต่ละรายมีข้อมูลต่อไปนี้ระบุไว้ที่ตัว C อาจมีครบหรือไม่ครบทุกข้อ
1. ค่าความจุ มี 2 แบบย่อย คือ แบบที่ 1 ระบุเป็นรหัสตัวเลข ( Capacitance code ) ให้อ่านหน่วยออกมาเป็น pf ( pico Farad) ใช้สำหรับตัวเก็บประจุแทนทาลัม แบบ SMD ขนาด Case Size A สำหรับผู้ผลิตยี่ห้อ Vishay ขณะที่ยี่ห้อ AVX ใช้กับขนาด Case Size A, B, C, D, E, F, H, K, S, T, U, V, W, X, Y แบบที่ 2 ระบุเป็นตัวเลขตรงๆ ให้อ่านหน่วยออกมาเป็น μF ( ดูที่รูป Marking ด้านล่าง ) ใช้สำหรับตัวเก็บประจุแทนทาลัม แบบ SMD ขนาด Case Size B, C, D, E สำหรับผู้ผลิตยี่ห้อ Vishay ผู้ผลิตแต่ละรายมีวิธีการระบุความจุทั้ง 2 แบบต้องใช้การสังเกตว่าเป็นรหัสค่าความจุ หรือ ระบุเป็นตัวเลขตรงๆ
2. พิกัดแรงดัน จะอยู่ติดกับค่าความจุ มี 2 แบบย่อย คือ ระบุเป็นรหัสตัวอักษร ( Voltage Code )
และระบุเป็นค่าตัวเลขแรงดันตรงๆ ดูตารางด้านล่าง จะยกตัวอย่างข้อมูลรหัสแรงดันให้ดู 3 ผู้ผลิต
3. อักษรย่อ ชื่อผู้ผลิต เช่น A = AVX , V = Vishay
4. เดือน ปี ที่ผลิต ข้อมูลไลน์การผลิตของโรงงาน ( ID Code )
5. คุณสมบัติพิเศษของตัวเก็บประจุ เช่น L = Lead free , P = High performance เป็นต้น
ตัวอย่างข้อมูลสเปค หรือ Marking ตัวเก็บประจุแทนทาลัม แบบ SMD
ขนาด (Case Code ) ขนาดมาตรฐานที่ผลิตอยู่ในตาราง
ยกตัวอย่าง C ตามรูปด้านล่าง วัดขนาดได้ L = 7.3mm , W1= 4.3mm และ H = 2.8mm ดังนั้นอ้างตามตารางเป็น C ขนาด Case D
ค่าในตารางหน่วยเป็น mm
ตัวอย่างการอ่านค่า ตัวเก็บประจุแทนทาลัม แบบ SMD
ตัวอย่างที่ 1
ค่าความจุระบุมาเป็นรหัสตัวเลข 227 และ A เป็นรหัสแรงดัน
ทำการอ่านค่าได้ 22 x 10000000 = 220000000pF
ทำการแปลงเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่าได้
220000000pF = 220000nF = 220μF
เครื่องวัดได้จริง 244.4μF
สรุปค่าที่อ่านได้ = ค่าที่ถุงสินค้าตอนซื้อ ใกล้เคียงค่าที่เครื่องวัดได้ถือว่าถูกต้อง
A เป็นรหัสแรงดัน ดูในตารางด้านบน A= 10V
1. ค่าความจุ มี 2 แบบย่อย คือ แบบที่ 1 ระบุเป็นรหัสตัวเลข ( Capacitance code ) ให้อ่านหน่วยออกมาเป็น pf ( pico Farad) ใช้สำหรับตัวเก็บประจุแทนทาลัม แบบ SMD ขนาด Case Size A สำหรับผู้ผลิตยี่ห้อ Vishay ขณะที่ยี่ห้อ AVX ใช้กับขนาด Case Size A, B, C, D, E, F, H, K, S, T, U, V, W, X, Y แบบที่ 2 ระบุเป็นตัวเลขตรงๆ ให้อ่านหน่วยออกมาเป็น μF ( ดูที่รูป Marking ด้านล่าง ) ใช้สำหรับตัวเก็บประจุแทนทาลัม แบบ SMD ขนาด Case Size B, C, D, E สำหรับผู้ผลิตยี่ห้อ Vishay ผู้ผลิตแต่ละรายมีวิธีการระบุความจุทั้ง 2 แบบต้องใช้การสังเกตว่าเป็นรหัสค่าความจุ หรือ ระบุเป็นตัวเลขตรงๆ
2. พิกัดแรงดัน จะอยู่ติดกับค่าความจุ มี 2 แบบย่อย คือ ระบุเป็นรหัสตัวอักษร ( Voltage Code )
และระบุเป็นค่าตัวเลขแรงดันตรงๆ ดูตารางด้านล่าง จะยกตัวอย่างข้อมูลรหัสแรงดันให้ดู 3 ผู้ผลิต
3. อักษรย่อ ชื่อผู้ผลิต เช่น A = AVX , V = Vishay
4. เดือน ปี ที่ผลิต ข้อมูลไลน์การผลิตของโรงงาน ( ID Code )
5. คุณสมบัติพิเศษของตัวเก็บประจุ เช่น L = Lead free , P = High performance เป็นต้น
ตัวอย่างข้อมูลสเปค หรือ Marking ตัวเก็บประจุแทนทาลัม แบบ SMD
![]() |
Marking ตัวเก็บประจุแทนทาลัม แบบ SMD ยี่ห้อ Kexin |
ขนาด (Case Code ) ขนาดมาตรฐานที่ผลิตอยู่ในตาราง
ยกตัวอย่าง C ตามรูปด้านล่าง วัดขนาดได้ L = 7.3mm , W1= 4.3mm และ H = 2.8mm ดังนั้นอ้างตามตารางเป็น C ขนาด Case D
ค่าในตารางหน่วยเป็น mm
ตัวอย่างการอ่านค่า ตัวเก็บประจุแทนทาลัม แบบ SMD
ตัวอย่างที่ 1
ค่าความจุระบุมาเป็นรหัสตัวเลข 227 และ A เป็นรหัสแรงดัน
ทำการอ่านค่าได้ 22 x 10000000 = 220000000pF
ทำการแปลงเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่าได้
220000000pF = 220000nF = 220μF
เครื่องวัดได้จริง 244.4μF
สรุปค่าที่อ่านได้ = ค่าที่ถุงสินค้าตอนซื้อ ใกล้เคียงค่าที่เครื่องวัดได้ถือว่าถูกต้อง
A เป็นรหัสแรงดัน ดูในตารางด้านบน A= 10V
ตัวเก็บประจุแทนทาลัม SMD ค่า 220μF 10V
ตัวอย่างที่ 2
ค่าความจุระบุมาเป็นรหัสตัวเลข 105 และ C เป็นรหัสแรงดัน
ทำการอ่านค่าได้ 10 x 100000 = 1000000pF
ทำการแปลงเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่าได้
1000000pF = 1000nF = 1μF
เครื่องวัดได้จริง 955.4nF = 0.9554μF
สรุปค่าที่อ่านได้ = ค่าที่ถุงสินค้าตอนซื้อ ใกล้เคียงค่าที่เครื่องวัดได้ถือว่าถูกต้อง
A เป็นรหัสแรงดัน ดูในตารางด้านบน C = 16V
ตัวอย่างที่ 3
ค่าความจุระบุมาเป็นรหัสตัวเลข 225 และ V เป็นรหัสแรงดัน
ทำการอ่านค่าได้ 22 x 100000 = 2200000pF
ทำการแปลงเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่าได้
2200000pF = 2200nF = 2.2μF
เครื่องวัดได้จริง 2126nF = 2.126μF
สรุปค่าที่อ่านได้ = ค่าที่ถุงสินค้าตอนซื้อ ใกล้เคียงค่าที่เครื่องวัดได้ถือว่าถูกต้อง
A เป็นรหัสแรงดัน ดูในตารางด้านบน V = 35V
![]() |
เครื่องวัดได้ 244.4μF |
![]() |
ค่า C ที่ถุงสินค้าตอนซื้อ 220μF 10V |
ตัวอย่างที่ 2
ค่าความจุระบุมาเป็นรหัสตัวเลข 105 และ C เป็นรหัสแรงดัน
ทำการอ่านค่าได้ 10 x 100000 = 1000000pF
ทำการแปลงเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่าได้
1000000pF = 1000nF = 1μF
เครื่องวัดได้จริง 955.4nF = 0.9554μF
สรุปค่าที่อ่านได้ = ค่าที่ถุงสินค้าตอนซื้อ ใกล้เคียงค่าที่เครื่องวัดได้ถือว่าถูกต้อง
A เป็นรหัสแรงดัน ดูในตารางด้านบน C = 16V
![]() |
ตัวเก็บประจุแทนทาลัม SMD ค่า 1μF 16V |
![]() |
เครื่องวัดได้ 955.4nF = 0.9554μF |
![]() |
ค่า C ที่ถุงสินค้าตอนซื้อ 1μF 16V |
ตัวอย่างที่ 3
ค่าความจุระบุมาเป็นรหัสตัวเลข 225 และ V เป็นรหัสแรงดัน
ทำการอ่านค่าได้ 22 x 100000 = 2200000pF
ทำการแปลงเป็นหน่วยที่ใหญ่กว่าได้
2200000pF = 2200nF = 2.2μF
เครื่องวัดได้จริง 2126nF = 2.126μF
สรุปค่าที่อ่านได้ = ค่าที่ถุงสินค้าตอนซื้อ ใกล้เคียงค่าที่เครื่องวัดได้ถือว่าถูกต้อง
A เป็นรหัสแรงดัน ดูในตารางด้านบน V = 35V
![]() |
ตัวเก็บประจุแทนทาลัม SMD ค่า 2.2μF 35V |
![]() |
เครื่องวัดได้ 2126nF = 2.126μF |
![]() |
ค่า C ที่ถุงสินค้าตอนซื้อ 2.2μF 35V |