ตัวต้านทานไวร์วาวด์ บางครั้งเรียกตัวต้านทานชนิ ดขดลวด (ลวดพัน) โครงสร้างพื้นฐานของตัวต้ านทานชนิดนี้ทำจากเส้นลวดพั นรอบแกนเซรามิคหรืออาจเป็ นแกนไฟเบอร์กลาส เส้นลวดที่ใช้พันอาจเป็นชนิด Copper Nickel Alloy หรือ Nickel-Chrome Alloy ด้านนอกสุดหุ้มด้วยซิลิโคนชนิ ดพิเศษทนความร้อนได้สูงหรื ออาจเป็นวัสดุชนิดอื่นที่ทนความร้ อนได้สูง การหุ้มช่วยป้องกันตัวต้ านทานจากสภาพแวดล้อม ตรงปลายทั้งสองข้างมีฝาสำหรับต่ อขาตัวนำออกไปใช้งาน กำลังไฟฟ้าหรือวัตต์มีค่าตั้ งแต่ 1/2W 1W 3W 5W 7W 10W 15W...จนถึง 1000W ขึ้นไป โดยตัวต้านทานวัตต์ต่ำจะมี ขายาวใช้สำหรับบัดกรีลงแผงวงจร ตัวต้านทานวัตต์สูงขึ้นจะมีขนาดใหญ่ ขึ้นจะมีขาสั้นเอาไว้บัดกรี เชื่อมต่อกับสายไฟและตัวต้านวัตต์สูงมีขาเป็ นแบบขันน๊อตก็มีเพื่อให้การต่อแน่นและง่าย สำหรับค่าความต้านทานของตัวต้านทานไวร์วาวด์ผลิตได้ตั้ งแต่ค่าน้อยกว่า 1 โอห์มจนถึงค่าเป็น Kilo โอห์ม ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานที่ผลิตคือ ±5% ±10% แต่สามารถผลิตสเปคอื่นๆได้ตั้งแต่ ±0.01% ±1% ±2% ±3% ±5% ±10% ตัวต้านทานไวร์วาวด์มีคุณสมบัติ ที่ดีมาก ( High performance ) คือ ค่าความต้านทานเสถียรเมื่ อทำงานในวงจร ระบายความร้อนได้ดี ทนความร้อนได้สูง
ยกตัวอย่างในสเปคจะบอกช่วงอุณหภูมิที่ ทนได้ เช่น -55°C ~ 250°C , -40°C ~ 200°C บางรุ่นอาจทนความร้อนได้สูงกว่ านี้ คุณสมบัติที่สำคัญอีกประการคื อทนพลังงานพัลซ์ได้อย่างยอดเยี่ ยม มีค่าให้เลือกใช้งานตั้งแต่วัตต์ต่ำจนถึงวัตต์สู งมาก ด้วยคุณสมบัติที่ดีดังกล่าวข้างต้นจึ งทำให้ตัวต้านทานชนิดนี้นิยมใช้ งานอย่างมากและอย่างกว้างขวางด้วย เช่น วงจรอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม วงจรควบคุมมอเตอร์ วงจรพาวเวอร์ซัพพลาย เครื่องชาร์จไฟ วงจรไฟในยานยนต์ วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง วงจรพลังงานทดแทน วงจรเครื่องมือวัด เป็นต้น เนื่องจากตัวต้านทานชนิดนี้ ทำจากเส้นลวดพันเป็นขด กรณีใช้กับไฟ AC หรือความถึ่สูง ตัวต้านทานจะมีคุณสมบัติเป็นตั วเหนี่ยวนำแฝง ESL ต้องได้รับการพิจารณาว่ าปรากฏการณ์นี้มีผลกระทบต่ อการทำงานของวงจรหรือไม่ กรณีมีผลกระทบก็มีทางเลือกอื่ นคือใช้ตัวทานตัวต้านทานไวร์ วาวด์ชนิด Non-inductive จะช่วยลดผลกระทบได้ การเลือกใช้งาน ให้เช็ คสเปคจากผู้ผลิตจะระบุไว้ว่าเป็นแบบ Non-inductive wirewound Resistor
(ชนิดของตัวต้านทานให้กดดูที่หมวดหมู่ตัวต้านทาน ปุ่มอยู่ตรงด้านข้างจะมีรูปเป็นจำนวนมากให้ดู)
แสดงโครงสร้างด้านในของตัวต้านทานไวร์วาวด์
ผ่าตัวต้านทานไวร์วาวด์ ให้เห็นเส้นลวด แกนสีขาวเป็นเซรามิค |
สีของตัวต้านทานไวร์วาวด์ มีสีเขียว สีน้ำตาล สีดำ สีแทน ที่ตัวต้านทานจะระบุค่าวัตต์ ค่าโอห์ม ค่า % ความคลาดเคลื่อน ตัวต้านทานไวร์วาวด์แบบระบุค่าความต้านทานเป็นสหัสสีก็มี
ตัวต้านทานไวร์วาวด์ สีต่างๆ Wirewound Resistor |
ตัวต้านทานไวร์วาวด์หุ้มฮีทซิงค์สีทอง 50W
ตัวต้านทานไวร์วาวด์ สีเขียว 30W
ตัวต้านทานไวร์วาวด์ปรับค่าได้ หมุนโลหะวงกลมเพื่อปรับค่า
ตัวต้านทานไวร์วาวด์ปรับค่าได้ หมุนโลหะวงกลมเพื่อปรับค่า
50 เรื่อง น่ารู้
- ตัวเก็บประจุ คาปาซิเตอร์ (20) โดย (20) = มี 20 เรื่อง
- ตัวต้านทาน รีซิสเตอร์ (22)
- ตัวเหนี่ยวนำ อินดักเตอร์ (6)
- ฟิวส์ FUSE (5)
- อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อื่นๆ (20)